ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดตรัง
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง115,305 (พลังประชารัฐ)
85,774 (ประชาธิปัตย์)
42,976 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาธิปัตย์ (2)
พลังประชารัฐ (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดตรัง มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดตรังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายจัง จริงจิตร[2]

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว, อำเภอปะเหลียน และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอห้วยยอด, อำเภอวังวิเศษ, อำเภอสิเกา, อำเภอกันตัง และกิ่งอำเภอรัษฎา
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ (ยกเว้นตำบลวังมะปราง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ) และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ) และอำเภอวังวิเศษ (เฉพาะตำบลวังมะปราง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง, อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว, อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา และอำเภอหาดสำราญ
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ (ยกเว้นตำบลวังมะปราง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอหาดสำราญ และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ) และอำเภอวังวิเศษ (เฉพาะตำบลวังมะปราง)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง, อำเภอนาโยง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ดและตำบลโพรงจระเข้)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอรัษฎา, อำเภอห้วยยอด, อำเภอวังวิเศษ, อำเภอสิเกา และอำเภอกันตัง (เฉพาะตำบล���คกยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหาดสำราญ, อำเภอปะเหลียน, อำเภอย่านตาขาว (ยกเว้นตำบลนาชุมเห็ดและตำบลโพรงจระเข้) และอำเภอกันตัง (ยกเว้นตำบลโคกยาง)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังวิเศษ, อำเภอห้วยยอด และอำเภอรัษฎา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหาดสำราญ, อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสิเกา, อำเภอกันตัง และอำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ)
4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495[แก้]

      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายจัง จริงจิตร
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเชือน สวัสดิปาณี
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเลียบ นิลระตะ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายก่อเกียรติ ษัฎเสน
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายประภาส คงสมัย

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายก่อเกียรติ ษัฎเสน
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500

ชุดที่ 10–11; พ.ศ. 2512–2518[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
เขต ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายชวน หลีกภัย
นายพร ศรีไตรรัตน์ นายประกิต รัตตมณี

ชุดที่ 12–18; พ.ศ. 2519–2535[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคชาติไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายชวน หลีกภัย นายเสริฐแสง ณ นคร นายประกิต รัตตมณี
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายพร ศรีไตรรัตน์ นายนคร ชาลปติ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายวิเชียร คันฉ่อง น��ยประกิต รัตตมณี
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายสุกิจ อัถโถปกรณ์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายทวี สุระบาล นายพิทักษ์ รังสีธรรม
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายวิเชียร คันฉ่อง
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายชวน หลีกภัย
นายวิเชียร คันฉ่อง
2 นายทวี สุระบาล
นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสุวรรณ กู้สุจริต
2 นายทวี สุระบาล นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
3 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
4 นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
นายสุกิจ อัถโถปกรณ์
2 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

ชุดที่ 24-26; พ.ศ. 2554-2566[แก้]

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสุกิจ อัถโถปกรณ์ นายนิพันธ์ ศิริธร นายถนอมพงศ์ หลีกภัย
2 นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย นายทวี สุระบาล
3 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ นางสาวสุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธ
4 นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล ยุบเขต 4 นายกาญจน์ ตั้งปอง

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]