ข้ามไปเนื้อหา

ไนโอเบียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Niobium)
ไนโอเบียม, 00Nb
A lump of gray shining crystals with hexagonal facetting
ไนโอเบียม
การอ่านออกเสียง/nˈbiəm/ (ny-OH-bee-əm)
รูปลักษณ์สีเทามันวาว, แกมสีน้ำเงินเมื่อออกซิไดส์
Standard atomic weight Ar°(Nb)
  • 92.90637±0.00001
  • 92.906±0.001 (abridged)[1]
ไนโอเบียมในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
V

Nb

Ta
เซอร์โคเนียมไนโอเบียมโมลิบดีนัม
หมู่group 5
คาบคาบที่ 5
บล็อก  บล็อก-d
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[Kr] 4d4 5s1
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 8, 18, 12, 1
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPsolid
จุดหลอมเหลว2750 K ​(2477 °C, ​4491 °F)
จุดเดือด5017 K ​(4744 °C, ​8571 °F)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)8.57 g/cm3
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว30 kJ/mol
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ689.9 kJ/mol
ความจุความร้อนโมลาร์24.60 J/(mol·K)
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
at T (K) 2942 3207 3524 3910 4393 5013
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน−3, −1, 0, +1, +2, +3, +4, +5 (ออกไซด์เป็นกรดเล็กน้อย)
อิเล็กโตรเนกาทิวิตีPauling scale: 1.6
รัศมีอะตอมempirical: 146 pm
รัศมีโคเวเลนต์164±6 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
เส้นสเปกตรัมของไนโอเบียม
สมบัติอื่น
การมีอยู่ในธรรมชาติprimordial
โครงสร้างผลึกbody-centered cubic (bcc)
Cubic body-centered crystal structure for ไนโอเบียม
Speed of sound thin rod3480 m/s (ณ 20 °C)
การขยายตัวจากความร้อน7.3 µm/(m⋅K)
การนำความร้อน53.7 W/(m⋅K)
สภาพต้านทานไฟฟ้า152 nΩ⋅m (ณ 0 °C)
ความเป็นแม่เหล็กพาราแมกเนติก
มอดุลัสของยัง105 GPa
โมดูลัสของแรงเฉือน38 GPa
Bulk modulus170 GPa
อัตราส่วนปัวซง0.40
Mohs hardness6.0
Vickers hardness870–1320 MPa
Brinell hardness735–2450 MPa
เลขทะเบียน CAS7440-03-1
ประวัติศาสตร์
การตั้งชื่อตั้งชื่อตามเทพไนโอบี เทพเจ้าตำนานกรีก, บุตรสาวของเทพแทนทาลัส (แทนทาลัม)
การค้นพบชาร์ลส์ แฮตเช็ตต์ (1801)
การแยกให้บริสุทธิ์เป็นครั้งแรกคริสเตียน วิลเฮล์ม บลอมสตรันด์ (1864)
ถูกจัดเป็น ธาตุ โดยไฮน์ริช โรส (1844)
ไอโซโทปของไนโอเบียม
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของไนโอเบียม
หมวดหมู่ Category: ไนโอเบียม
| แหล่งอ้างอิง

ไนโอเบียม (อังกฤษ: Niobium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 41 และสัญลักษณ์คือ Nb ไนโอเบียมเป็นโลหะทรานซิชัน มีสีเทาหายาก อ่อนนุ่ม ตีเป็นแผ่นได้ พบในแร่ไนโอไบต์และแร่โคลัมไบต์

การใช้ประโยชน์

[แก้]

ข้อถกเถียงชื่อของธาตุ

[แก้]

ชื่อเก่าของไนโอเบียม 'โคลัมเบียม (อักษรย่อ Cb)'[2] ตั้งชื่อโดย Hatchett จากการค้นพบธาตุในปี 1801 โดยตั้งตามภูมิภาคที่ค้นพบแร่ที่นำมาสกัดเป็นโลหะที่มีส่วนผสมของไนโอเบียม [3] ต่อมามีการค้นพบและสกัดจากแร่ในภูมิภาคยุโรปและตั้งชื่อว่า ไนโอเบียม และได้มีการจัดให้ใช้ชื่อ ไนโอเบียม ในในการประชุมเคมีนานาชาติครั��งที่ 12 ที่กรุงอัมเตอร์ดัมในปี 1949.[4] ปีต่อมา สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC)ได้ตกลงให้ใช้ชื่อ ไนโอเบียม

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Standard Atomic Weights: Niobium". CIAAW. 2017.
  2. Kòrösy, F. (1939). "Reaction of Tantalum, Columbium and Vanadium with Iodine". Journal of the American Chemical Society. 61 (4): 838–843. doi:10.1021/ja01873a018.
  3. Nicholson, William, บ.ก. (1809), The British Encyclopedia: Or, Dictionary of Arts and Sciences, Comprising an Accurate and Popular View of the Present Improved State of Human Knowledge, vol. 2, Longman, Hurst, Rees, and Orme, p. 284, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2019, สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
  4. Rayner-Canham, Geoff; Zheng, Zheng (2008). "Naming elements after scientists: an account of a controversy". Foundations of Chemistry. 10 (1): 13–18. doi:10.1007/s10698-007-9042-1. S2CID 96082444.